บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
วิชา การจัดการประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอนจินตานา สุขสำราญ
สิ่งที่ได้รับจากการเรียนในวันนี้
เริ่มต้นชั่วโมงการเรียนโดยอาจารย์ให้นักศึกษาทำกังหันหมุน แล้วให้นนักศึกษาแต่ละเเถวออกไปโยสิ่งประดิษฐ์ ของตน แล้วสังเกตเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การเปลี่ยนแปลงต่างๆ ความแตกต่างของผลงานของแต่ละคน กิจกรรมนี้สามารถบูรณาการเข้ากับรายวิชาศิลปะสร้างสรรค์ได้ ลม คือ แรงกระทบกับอากาศทำให้อากาศเคลื่อนที่หรื่อที่เรียกอีกอย่างอากาศที่เคลื่อนที่
อาจารย์ให้พับกระดาษตามรูปที่ 1 แบ่งเป็นแถวที่จัดนั่งเรียงตามเลขที่ รูปที่ 2 คือเพื่อนออกไปโยนกระดาษที่พับหน้าชั้นเรียนเพื่อนบางคนสามารถโยนแล้วกระดาษหมุนได้แต่บางคนโยนกระดาษแล้วไม่สามารถหมุนได้สาเหตุที่เกิดเพราะ วิธีการโยน การพับกระดาษ แรงโน้มถ่วงที่โยนกระดาษที่น้ำหนักตอนโยนของแต่ละคนทำไม่เท่ากันทำให้บางคนกระดาษสามารถหมุนได้บางคนกระดาษไม่สามารถหมุนได้
กิจกรรม วิทยาศาสตร์จากแกนกระดาษทิชชู
รูปที่ 1 การประดิษฐ์จากแกนทิชชู
อุปกรณ์
1.แกนกระดาษทิชชู
2.ไหมพรมหรือเชือกอะไรก็ได้
3.กระดาษสี สีไม้ สีเมจิ
4.ที่หนีบกระดาษ กาว
วิธีการทำ
1.ตัดแกนกระดาษทิชชูแบ่งครึ่ง
2.ใช้ที่หนีบกระดาษมาเจาะแกนกระดาษทิชชูให้เป็นรูแบบรูปภาพที่ 2
3.นำไหมพรมมาร้อยตรงรูที่เราเจาะบนแกนกระดาษทิชชูแบบรูปภาพที่ 3
4.ตัดกระดาษเป็นรูปสี่เหลี่ยมแล้ววาดรูปภาพอะไรก็ได้แล้วนำมาแปะบนแกนกระดาษทิชชู
นางสาวชนิดา บุญนาโค
เรื่อง ให้เด็กมีความสนุกสนานในการเรียนนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร
- สร้างเจตคติที่ดีให้กับเด็ก
- ให้เด็กสังเกตและทดลองจริง
- บูรณาการวิทาศาสตร์เข้ากับรายวิชาอื่นๆ
- เปลี่ยนบรรยากาศพาเด็กไปสำรวจ
- ให้เด้กประดิษฐ์ชิ้นงาน
- พาเด็กไปชมนิทรรศการเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
- นำนิทานมาสอดแทรกเนื้อหาวิทยาศาสตร์
- ให้เด็กจัดนิทรรศการเอง
ภาพบรรยาการในชั้นเรียน
ประเมินตนเอง
เข้าเรียนตรงเวลา แต่งกายถูกต้องเรียบร้อย ตั้งใจทำกิจกรรมเพราะชอบกิจกรรมที่อาจารย์นำมาให้ปฎิบัติ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่งกายถูกต้องเรียบร้อย เพื่อนทุกคนสนุกและตั้งใจทำกิจกรรมที่อาจารย์นำมาให้ปฎิบัติทุกคน
ประเมินอาจารย์
อาจารย์เข้าสอนตรงเวลา มีการเตรียมการสอนมาดีทุกครั้ง มีกิจกรรมมาให้ทำทุกสัปดาห์ทำให้นักศึกษาสนุกไปกับการที่ได้ทำกิจกรรม
ขั้นตอนการประดิษฐ์
1 นำกระดาษที่ได้มาพับครึ่ง แล้วนำกรรไกรมาตัดเป็นแนวตรงยาวให้ชิดกับรอยพับครึ่งของกรรไกร
2 พับส่วนบนของกระดาษเข้ามา 1 เซนติเมตร
3 นำคลิปหนีบกระดาษมาหนีบไว้ด้านที่พับส่วนบนเข้ามา จากนั้นกางปีกส่วนที่โดนตัดออกไปคนละด้าน กัน
4 นำมาทดลองเล่น โดยการโยนและทำให้กระดาษหมุน
นำเสนอบทความ
1. นางสาวจิราวรรณ นวลโฉม
เรื่อง ฝึกลูกให้คิดแบบวิทยาศาสตร์
วิธีฝึก การสอนแบบใช้ 5 E
1.การมีส่วนร่วม
2.ขั้นการสำรวจ ให้ค้นคว้าสิ่งต่างๆด้วยตนเอง
3.ขั้นอธิบาย ให้ลูกวิเคราะห์อธิบายขั้นที่ผ่านมาตามความเข้าใจ
4.ขั้นรละเอียด ให้เด็กได้เชื่อมโยงความรู้ และขยายความรู้ที่ได้เรียนรู้มา
5.ขั้นนประเมิน ให้เด็กประเมินนตนที่ผ่านมาอย่างเป็นไปแบบมีเหตุมีผล
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น