วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557

   
วิจัย

เรื่อง   : การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
                ด้านการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร

ผู้วิจัย : วณิชชา สิทธิพล

วัตถุประสงค์ของการศึกษา
  
  แผนการจัดกิจกรรมการทำเครื่องดื่มสมุนไพร
  แบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

ตัวแปรต้น  :   การจัดกิจกรรมเครื่องดื่มสมุนไพร
ตัวแปรตาม : ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย การสังเกต การจำแนก การวัด การสื่อความ   หมายข้อมูล
ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
  คือ พฤติกรรมที่เด็กแสดงออกถึงความสามารถในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลที่จะนำไปใช้ทางวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทดสอบได้ด้วยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยประกอบด้วย ทักษะคือ
        1.  การสังเกต หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน เข้าไปสัมผัสโดยตรงกับวัตถุแล้วสามารถบอกข้อมูลหรือรายละเอียดของสิ่งที่สังเกตได้
  2.  การจำแนก หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบแลการบอกข้อแตกต่างของคุณสมบัติได้ เช่น สี กลิ่น รูปร่างขนาด รส กลิ่น เป็นต้น
  3.  การวัด หมายถึง ความสามารถในการเลือกใช้เครื่องมือในการวัดประมาณหรือสิ่งของต่าง ๆ
 4. การสื่อความหมายข้อมูล หมายถึง ความสามารถในการเสนอข้อมูลที่ได้จากการค้นพบจากการปฏิบัติจริงแล้วนำมาถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจ ด้วยการบอกเล่าหรืออธิบาย
         
         กิจกรรมทำน้ำฝรั่ง 
           จุดประสงค์
            1. เพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
                - การสังเกต : สามรถบอกลักษะของน้ำฝรั่งได้
                - การจำแนก : สมารถบอกปริมาณน้ำฝร่งที่คั้นได้จากฝรั่งลูกเล็ก
              - การวัด : สามรถตวงน้ำเชื่อมที่นำมาปรุงน้ำฝรั่งได้
              - การสื่อความหมาย : สามารถแสดงความคิดเห็นกับครูและเพื่อน
         2. เพื่อให้เด็กได้รู้จักอุปกรณ์
         3. เพื่อให้เด็กสามรถทำน้ำฝรั่งตามขั้นตอนได้
         เนื้อหา
            น้ำฝรั่งทำได้โดยนำฝรั่งเฉพาะเนื้อหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่เครื่องปั้น เติมน้ำสุก ปั่นจนละเอียด บีบคั้นน้ำฝรั่งและกรองกากด้วยผ้าขาวบาง เติมน้ำเชื่อมและเกลือป่นเล็กน้อย และรับประทานได้
         ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม 
         ขั้นนำ
            1. ครูและเด็กร่วมกันร้องเพลง ผลไม้ พร้อมทำท่าประกอบ แล้วสนทนาซัุกถามโดยใช้คำถามดังนี้
                      - เด็ก ๆ ชอบทานผลไม้อะไรในเเพลง
                      - เด็กคิดว่าฝรั่งนำมาทำอาหารอะไรได้บ้าง
          ขั้นดำเนินการ
               1. ครูแนะนำอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำกิจกรรม
               2. ครูแนะนำกิจกรรมน้ำฝรั่งให้กับเด็ก ๆ ดังนี้
                   - เด็กล้างผลไม้ที่ตนเลือกด้วยน้ำสะอาด
                   - ครูหั่นฝรั่งให้เด็กเป็นชิ้นเล็ก ๆ 
                  - เด็ก ๆ นำฝรั่งใส่เครื่องปั่น เติมน้ำสุก ปั่นจนละเอียด
                  - เด็กๆ บีบคั้นน้ำฝรั่งและกรองกากด้วยผ้าขาว
                  - เด็ก ๆ เติมน้ำเชื่อมและเกลือป่นเล็กน้อย และรับประทานได้
            3. เด็กและครูร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับข้อตกลงเบื้องต้นที่ควรปฏิบัติการทำน้ำฝรั่ง ได้แก่ 
                - ล้างมือก่อนและหลังการทำกิจกรรมทุกครั้ง
                - ขณะทำกิจกรรมเด็ก ๆ ไม่ควรพูดคุยเสียงดังหรือเล่นกัน
               - หลังจากทำกิจกรรมแล้วช่วยกันเก็บอุปกรณ์ของกลุ่มและทำความสะอาดให้เรียบร้อย
          4. เด็กเลือกเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 5คน เลือกตัวแทนเด็กออกมารับอุปกรณื
          5. เด็ก ๆแต่ละกลุ่มลงมือทำน้ำฝรั่งตามวิธีการของกลุ่มตนเอง
          6. เด็กและครูร่วมกันสนทนาซักถามเกี่ยวกับการทำน้ำฝรั่ง มีดังนี้
               - น้ำฝรั่งที่เด็ก ๆ คั่นมีลักษณะอย่างไร
               - ระหว่างฝรั่งลูกเล็กกกับฝรั่งลูกใหญ่ลูกไหนคั่นน้ำฝรั่งได้เยอะกว่ากัน
               - เด็ก ๆ ใส่น้ำเชื่อมลงไปในน้ำฝรั่งที่ช้อน
        ขั้นสรุป
           1. เด็กและครูร่วมกันสรุปถึงขั้นตอนการทำน้ำฝรั่ง
        สื่ี่อช้ในการสื่อความหมาย 
           1. ส่วนผสมในการทำน้ำฝรั่ง ได้แก่ ฝรั่ง น้ำเชื่อม เกลื่อป่น น้ำ
           2. เครื่องครัว ได้แก่ เครื่องปั่น ผ้าขาวบาง แก้ว ชาม ช้อน
       การประเมินผล
          1. สังเกตพฤติกรรมในการร่วมกิจกรรม
          2. สังเกตการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถาม



              โทรทัศน์ครู เรื่อง น้ำไม่เต็มแก้ว 
              ผู้ถ่ายทอด อาจารย์ยุวดี นุชทรัพย์
              โรงเรียน วัดปากน้ำ
              สรุป
              จากวิดีโอนี้คือ ไม่ใช่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ด้วยตรง แต่จะเป็นการเสริมทักษะวิยาศาสตร์ เช่น การทกม้าก้านกล้วย เด็กจะได้ทักษะกระบวนการทำและการรสังเกตในการรทำม้าก้านกล้วย คือ ต้องใช้ทักษะการคิดและทักษะต่าง ๆ อีกมากมาย เช่น ทักษะการจำแนก ทักษะการสังเกต ทักษะการคิดคำนวณ 
                
                              
                

       





                     


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น