บันทึกอนุทินครั้งที่ 4
วิชา การจัดการประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอนจินตานา สุขสำราญ
สิ่งที่ได้รับจากการเรียนวันนี้
kkkkkllในการเรียนการสอนรายสัปดาห์นี้ดิฉันไม่ได้มาเรียน เนื่องจากไม่สบายจึงไปปสรุปของเพื่อนมาอีกทีค่ะ สัปดาห์นี้เพื่อนๆได้นำบทความมาให้ความรู้ โดยบทความมีทั้งหมด 5 บทความ เรามาเรียนรู็และทำความเข้าใจ
1.บทความจุดประกายเด็กคิดนอกกรอบ
กล่าวว่าของเล่นนั้นจะอยู่คู่กับเด็กทุกคน ทั้งของเล่นพื้นบ้าน และวิทยาศาสตร์ คุณครูนพพร คุณครูพี่เลี้ยงจึงไ้จัดเด็กกลุ่มอนุบาลเข้าร่วมนิทรรศการเพื่อให้เด็กสืบเสาะหาความรู้ และได้ทดลองเกี่ยวกับกิจกรรมที่นิทรรศการจัดขึ้น โดยกิจกรรมที่ครูนพพรพาเด้กไปเข้าร่วมเป้นการหาความรู้จากของเล่น เช่น การพับแฮลิคอปเตอร์กระดาษ จรวด เเละเครื่องบิน ซึ่งเป็นความคิดดสร้างสรรค์นอกกรอบ เกี่ยวกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์คือ ต้องการให้เด็กทราบถึง ความสูง - ต่ำ ในการโยนจรวดลงสู่พื้นดิน
2.บทความทำอย่างไรให้ลูกสนใจวิทยาศาสตร์
กล่าวว่าวิธีการทำให้ลูกน้อยสนใจวิทยาศาสตร์มีวิธีง่ายๆคือ
-ให้ลูกน้อยอ่านหนังสือการ์ตูน เช่น หนังสือโดเรมอน เพราะมีความรู้ทางวิทยาศตร์เข้ามาเกี่ยวข้อง
-ซื้อเกราะกิจกรรมการทดลอง ซื้อหนังสือทดลองที่สามารถทำที่บ้าน เช่น การพับกระดาษ พีระมิด การตัดพิซซ่า เป็นต้น
-พาเด็กเข้าร่วมพิพิธภัณฑ์ เพราะเด็กสามารถเข้าร่วมการทดลองได้ เเละยังสามารถช่วยกระตุ้นให้เด็กกล้าเเสดงออกในการทดลองให้แก่เด็ก ทำให้เด็กเกิดกระบวนการเรียนรู้
3.บทความวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์สำคัญอย่างไรกับอนาคตของชาติ
เป็นการจัดเสวนาโดยเรียนเชิญผู้ที่มีความสำคัญทางการศึกษาปฐมวัย เช่น ครูธิดา
ครูธิดา กล่าวว่า ในการเล่นครูต้องให้เด็กลงมือปฎิบัติจริงแล้วครูคอยประเมินพฤติกรรมของเด็กอยู่ห่างๆ และชวนเด็กตั้งคำถามไปเรื่อยๆ จะทำให้เด็กเกิดความสงสัยและอยากหาคำตอบ เเละอยากทำการทดลอง ซึ่งทำใหห้เด็กได้เรียนรู้และปฎิบัติจริงในการทำกิจกรรม และการจัดประสบการณ์
4.บทความเมื่อลูกน้อยเรียนรู้วทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์จากดนตรี
โดยให้ครูปฐมวัยให้เด็กปฐมวัยส่งลูกบอลจากตนไปหาเพื่อน บางคนส่งช้า บางคนส่งเร็ว และบางคนส่งตามจังหวะเสียง หลังจากนั้นชวนเด็กเข้าร่วมกิจกรรมการอบรม โดยให้เด็กหาอุปกรณ์ชนิดใดก็ได้มาทำกิจกรรมที่เกิดเสียง และผู้จัดกิจกรรมมีการซักถามว่า อุปกรณ์ที่นำมาเกิดเสียงอะไรบ้าง เช่น เสียงเบา เสียงแหลม เสียงทุ้ม เสียงดัง เสียงสูง เสียงต่ำ และขึ้นอยู่กับปริมาณที่หลากหลาย
เช่น -เสียงเกิดจากวัตถุกระทบกัน
-วัตถุที่ต่างกันทำให้เกิดเสียงที่ต่างกัน
5.บทความการจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วัตถุประสงค์ -ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ของเด็ก
-เพื่อให้เด็กเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว
-เพื่อส่งเสริมทักษะด้านต่างๆ
ในการทดลองเด็กจะใช้ทักษะการสังเกตุ และประมวลความคิด และบอกเหตุผล และจึงสร้างสรรค์ชิ้นงานออกมาโดยใช้ทักษะการคิดวิเคราะห์ การใช้เหตุผล ไปถึงทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์
เป้าหมาย -แสดงความตระหนักรู้ ลงมือปฎิบัติ สำรวจ ตั้งคำถาม
-ใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์
-รู้จักการใช้เหตุผล กลัวการตัดสินใจ
-เด็กได้ช่วยเหลือตนเอง และทำงานร่วมกับเพื่อน
เเนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
1.การเปลี่ยนแปลง
2.ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงกัน
3.การปรับตัว ( สภาพเเวดล้อม อากาศ สังคม )
4.การพึ่งพาอาศัยกัน
5.ความสมดุล
การศึกษาวิธีการทางวิทยาศาสตร์
1.ขั้นกำหนดปัญหา
2.ขั้นตั้งมติฐาน
3.ขั้นรวบรวมข้อมูล
4.ขั้นลงข้อสรุป
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
1.ความอยากรู้อยากเห็น
2.ความเพียรพยายาม
3.ความมีเหตุผล
4.ความซื่อสัตย์
5.ความมีระเบียบและรอบคอบ
6.ความใจกว้าง
ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
1.ตอบสนองความต้องการ
2.พัฒนาการทักษะกระบวนการ
3.เสริมสร้างประสบกา
ประโยชน์ของวิทยาศาสตร์
1.พัฒนาความต้องการพื้นฐาน
2.สร้างความเชื่อมั่นในตนเอง
3.พัฒนาทักษะการเเสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
คําศัพท์ (vocabulary)
1.จุดประกาย ( spark )
2.พิพิธภัณฑ์ ( museum )
3.พิพิธภัณฑ์เชิงงปฎิสัมพันธ์ ( interractive )
4.ความเเตกตต่าง ( Differrent )
5.ความเพียรพยายาม ( pertinacity )
6.ความมีเหตุผล ( reasonable )
ประเมินตนเอง
ในสัปดาห์นี้ดิฉันไม่ได้มาเรียนจึงไปสรุปของเพื่่อนมาค่ะ
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและเเต่งกายเรียบร้อย และมีส่วนร่วมในการตอบคำถามในห้องเรียน
ประเมินครูผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้ครูสอนเข้าใจ เเต่งกายเรียบร้อย เเละเข้าสอนตรงเวลา และ power point มีความสวยงามดูแล้วมีความสะอาดตามากคะ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น